ขายบุหรี่ไฟฟ้าราคาถูก

Member Only ขายบุหรี่ไฟฟ้าราคาถูก.com => ชมรมพระเครื่อง เฉพาะกิจ => ข้อความที่เริ่มโดย: aekcub ที่ กันยายน 02, 2013, 10:10:10 PM



หัวข้อ: กุมารทอง คืออะไร ทำไมจึงมีผู้บูชากุมารทองจำนวนมาก
เริ่มหัวข้อโดย: aekcub ที่ กันยายน 02, 2013, 10:10:10 PM
กุมารทอง (http://www.itti-patihan.com/pramai12-4.php) คืออะไร ทำไมจึงมีผู้บูชากุมารทอง (http://www.itti-patihan.com/pramai12-4.php)จำนวนมาก

กุมารทอง (http://www.itti-patihan.com/pramai12-4.php) เป็นความเชื่อทางไสยศาสตร์ของไทยเกี่ยวกับจิตวิญญาณ ที่มาของกุมาร (http://www.itti-patihan.com/pramai12-4.php)ทองมาจากการเลี้ยงภูติผีปีศาจไว้ใช้งาน โดยกุมารทอง (http://www.xn--12cm1cybk5d6a9b.net/) จะเป็น วิญญาณของเด็ก หากเป็นวิญญาณผู้หญิงที่คนเลี้ยงไว้จะเรียกว่าโหงพราย กุมาร (http://www.xn--12cm1cybk5d6a9b.net/)ทอง แรกเริ่มเดิมทีมาจากวิญญาณของเด็กที่ตายในท้องแม่หรือที่ เรียกว่าตายทั้งกลม

ผู้มีวิชาอาคมจะไปนำพาวิญญาณเด็กนั้นมาเลี้ยงไว้เป็นลูก จากหลักฐานที่พบในเอกสารโบราณระบุถึงการทำกุมารทอง (https://www.facebook.com/kumanthong108)สรุปว่า ต้องหาศพที่ตายทั้งกลม แล้วประกอบพิธีกรรมผ่าเอาศพทารกในท้องนั้นมาย่างไฟให้แห้งสนิทก่อนรุ่งอรุณ แล้วจึงลงรักปิดทองให้ทั่ว ด้วยเหตนี้จึง เรียกว่ากุมาร (https://www.facebook.com/kumanthong108)ทอง ต่อมาสภาพสังคมและวัฒนธรรมพัฒนาไปมากขึ้น ทำให้ไม่สามารถสร้างกุมารทอง (http://xn--12cm1cybcfe2dza1cg7d.blogspot.com/)จากศพทารกจริง ๆ ได้ จึงได้มีการดัดแปลง กรรมวิธีการสร้างกุมาร (http://xn--12cm1cybcfe2dza1cg7d.blogspot.com/)ทองขึ้น โดยใช้ดินเจ็ดป่าช้าบ้าง ไม้รักซ้อนหรือไม้มะยมบ้าง ไปจนถึงโลหะ มาสร้างเป็นรูปกุมาร (http://xn--12cm1cybk5d6a9b.modothai.com/) แล้วปลุกเสกตั้งจิต ตั้งธาตุทั้ง 4 และเรียกอาการสามสิบสองให้บังเกิดเป็นจิตวิญญาณของเด็กขึ้นมา กุมารทอง (http://xn--12cm1cybk5d6a9b.modothai.com/)ปัจจุบันนิยมสร้างเป็นรูปเด็ก ลักษณะเป็นเด็กไว้จุก นุ่งโจงกระเบน อย่างโบราณ กลายเป็นเครื่องรางของขลัง (http://www.itti-patihan.com/กำเนิดความเป็นมา-เครื่องรางของขลัง.html)

เชื่อกันว่าเสมือนมีวิญญาณเด็กอยู่ในรูปกุมารนั้น ผู้บูชาต้องเลี้ยงดูเหมือนลูกของตน ต้องให้ข้าวน้ำเซ่นสรวง และต้องเรียกให้กินข้าวด้วย กล่าวกันว่าหากปฏิบัติดูแลดีกุมารทองก็จะช่วยค้ำคูณ อาทิ ช่วยคุ้มครองป้องกันเจ้าของและครอบครัวจากสิ่งไม่ดีทั้งหลาย ช่วยให้ทำมาค้าขึ้น ไปจนถึงเตือนภัยล่วงหน้าอีกด้วย และจะคอยติดตามเฝ้าระวังบ้านเรือนจากโจรผู้ร้ายและศัตรูไม่ให้มากล้ำกราย ปัจจุบัน ผู้บูชา นิยมไหว้ด้วยน้ำแดง ขนมไทยๆ เรื่องราวของกุมารทองถูกกล่าวถึงใน วรรณคดีไทย เช่น ขุนช้างขุนแผน บ้างก็นับลูกกรอก เป็นกุมารทองด้วย

เครื่องรางของขลัง (http://www.amulet-buddha.com/วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง-b13.0/) อีกประเภท หนึ่งที่คล้ายกันคือรักยม ทั้งกุมารทองและรักยม เป็นเครื่องรางของขลัง (http://xn--22caemabb2tby5fe9ch5ewhyf.blogspot.com/)ที่มีผู้นิยมบูชากันอยู่ไม่ น้อยในสังคมไทย  กุมารทอง มีการจัดสร้างขึ้น มาหลากหลายรูปแบบ แล้วแต่ความชำนาญในแต่ละสำนักแต่ละวัด รวมถึงชื่อเสียงเรียงนามของ รุ่น กุมารทอง อาทิ เช่น กุมารทองดูดรก , กุมารทอง รับทรัพย์ , กุมารทอง กวัก มหาเฮง , กุมารทองโคตรเฮี้ยน , กุมารทอง รวยทรัพย์ , พรายกุมารทอง , ขุนแผน กุมารทอง , กุมารทองในน้ำมันอาถรรพ์ , กุมารทองโคตรเฮี้ยน เรียกทรัพย์ ร่ำรวยสมบัติ , กุมารทอง คะนองฤทธิ์ , กุมารทอง เสน่ห์จันทร์ , กุมารทอง สมบัติ ,น้ำมันพรายกุมาร เสี่ยงโชค , กุมารทอง เทวฤทธิ์ , กุมารทอง พรายกระซิบ , กุมารกวักเงิน กวักทอง , กุมาร โภคทรัพย์ กุมารทองคะนองฤทธิ์ เป็นต้น

รูปแบบและวัตถุในการจัดสร้าง มีทั้ง กุมารทอง (http://xn--12cm1cybk5d6a9b.sabuyblog.com/) ในน้ำมัน , กุมาร (http://xn--12cm1cybk5d6a9b.sabuyblog.com/)ทอง ลอยองค์ ทั้งขนาดแขวนคอ และ ขนาด บูชา , สีผึ้ง กุมาร (http://xn--12cm1cybk5d6a9b.modothai.com/)ทอง , ลูกอม กุมารทอง , กุมารทองจากเสาตกน้ำมัน , กุมาร (http://www.usnzone.com/forum/thread-6461-1-1.html)ทอง จาก เหล็กอาถรรพ์ , กุมารทอง (http://xn--12cm1cybk5d6a9b.modothai.com/) จาก ดิน 7 ป่าช้า และจากวัตถุอาถรรพ์ต่างๆ เช่น ตะปูสังฆวานร , กระดูก , ขี้เถ้า กองฟอน , ตะปูโลงศพ ว่านต่างๆ ผงไม้ทิ่มผีตายทั้งกลม , ผงลูกกรอกตายทั้งกลม , ผงขี้เถ้าเด็กตายพราย , ผงขี้เถ้าเด็กตายทั้กลม , หัวว่านกุมารทอง (http://www.usnzone.com/forum/thread-6461-1-1.html) , ดิน 7 โป่ง และอื่นๆอีกมากมาย

ที่มาของบทความพระเครื่อง (http://xn--42caj5do0aurb9a1e7aw0fygqf.blogspot.com/) หรือ ข่าวพระเครื่อง (http://xn--22cej4gzaby6cyaq5dzf9dj.blogspot.com/) นำมาจาก http://www.itti-patihan.com/pramai12-4.php (http://www.itti-patihan.com/pramai12-4.php)